การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยในเชิงปริมาณ(Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ1) เพื่อศึกษาความรู้ ความเข้าใจ และการรับรู้ข่าวสารต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำสำหรับยกระดับการท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรี2) เพื่อศึกษาระดับของการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำสำหรับยกระดับการท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คนใช้การสุ่มแบบสะดวกเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถามสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ลการวิจัยพบว่า 1) ความรู้ ความเข้าใจ และการรับรู้ข่าวสารต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำสำหรับยกระดับการท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรีภาพรวมอยู่ในระดับมาก2) ระดับของการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำสำหรับยกระดับการท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรีอยู่ในระดับมาก
APA
อรจิรา ธรรมไชยางกูร.
เมทิกา พ่วงแสง.
( 2566 ).
กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำสำหรับยกระดับการท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรี.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
Chicago
อรจิรา ธรรมไชยางกูร.
เมทิกา พ่วงแสง.
กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำสำหรับยกระดับการท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรี.
กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร,
2566.
MLA
อรจิรา ธรรมไชยางกูร.
เมทิกา พ่วงแสง.
กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำสำหรับยกระดับการท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรี.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร,
2566.
Vancouver
อรจิรา ธรรมไชยางกูร.
เมทิกา พ่วงแสง.
กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำสำหรับยกระดับการท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรี.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร;
2566.