ภาพปกงานวิจัย การเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจเขียว: กรณีการแก้ปัญหาการจราจรคับคั่งโดยใช้การวิเคราะห์เชิงทฤษฎีกราฟ
เจ้าของงานวิจัย วรีวรรณ์ วิเศษสิงห์ ณิศรา สุทธิสังข์
หมวดหมู่ เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์
Subject ทฤษฎีกราฟ การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ (สถิติ) จราจรแออัด
วันที่ตีพิมพ์ 2566
เอกสารประกอบ ดาวน์โหลด
จำนวนเข้าชม 52

การแก้ปัญหาการจราจรคับคั่งโดยใช้การวิเคราะห์เชิงทฤษฎีกราฟ การวิเคราะห์ผลใช้การศึกษาเส้นทางการจราจรบริเวณสะพานพระรามเจ็ดโดยพิจารณาจากการแสดงความคล่องตัวของการจราจรด้วยสีบน google map ในช่วงเวลา (07.00-8.00 น.) และใช้แนวคิดพื้นฐานของจุดและเส้นเพื่อสร้างกราฟเส้นทางการจราจรบริเวณสะพานพระรามเจ็ด ผลการวิจัยพบว่า ในช่วงเวลา 7.00-8.00 น. ถนนหน้าพระจอมเกล้าพระนครเหนือและถนนก่อนถึงแยกไฟสัญญาณจราจรลอดใต้สะพานพระรามเจ็ดการจราจรคล่องตัวช้ามาก นอกจากนี้แยกหน้าพระจอมเกล้าพระนครเหนือคล่องตัวช้าก่อนถึงแยกสัญญาณไฟจราจร การใช้เส้นทางการจราจรในถนนช่วงเวลาก่อน 7.00 น. ทำให้การขับขี่ยานพาหนะคล่องตัวได้ดี และช่วงเวลาที่มากขึ้น ความคล่องตัวของการใช้รถบนเส้นทางการจราจรบริเวณสะพานพระรามเจ็ดคล่องตัวล่าช้ามากขึ้นจนถึงเวลา 8.00 น.

APA

วรีวรรณ์ วิเศษสิงห์. ณิศรา สุทธิสังข์. ( 2566 ). การเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจเขียว: กรณีการแก้ปัญหาการจราจรคับคั่งโดยใช้การวิเคราะห์เชิงทฤษฎีกราฟ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

Chicago

วรีวรรณ์ วิเศษสิงห์. ณิศรา สุทธิสังข์. การเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจเขียว: กรณีการแก้ปัญหาการจราจรคับคั่งโดยใช้การวิเคราะห์เชิงทฤษฎีกราฟ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2566.

MLA

วรีวรรณ์ วิเศษสิงห์. ณิศรา สุทธิสังข์. การเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจเขียว: กรณีการแก้ปัญหาการจราจรคับคั่งโดยใช้การวิเคราะห์เชิงทฤษฎีกราฟ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2566.

Vancouver

วรีวรรณ์ วิเศษสิงห์. ณิศรา สุทธิสังข์. การเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจเขียว: กรณีการแก้ปัญหาการจราจรคับคั่งโดยใช้การวิเคราะห์เชิงทฤษฎีกราฟ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร; 2566.