รายละเอียดบทเรียน
เนื้อหา
ความหมายของเศรษฐศาสตร์
1.เศรษฐศาสตร์คืออะไร
2.ความหมายของเศรษฐศาสตร์
3.ประโยชน์ของเศรษฐศาสตร์
4.การใช้ประโยชน์จากเศรษฐศาสตร์
ดาวน์โหลด
ไฟล์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ
ดาวน์โหลด
ไฟล์รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจ
- องค์กรที่มุ่งแสวงหา “กำไร”
- มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน (ว่าจะซื้อ ขาย ผลิต ส่งออก จำหน่าย ฯลฯ)
- มีคณะกรมการ กลุ่มบุคคลในการดำเนินงาน
- มีระบบการดำเนินงานที่ชัดเจน
- มีตัวตน
ดาวน์โหลด
ไฟล์การเป็นผู้ประกอบการ
- สินค้าเหล่านี้เกิดขึ้นมาได้อย่างไร
- สะดวกสบายขึ้นไหม
- มีให้เลือกอย่างหลากหลาย
- ตอบสนองทุกความต้องการ
ดาวน์โหลด
ไฟล์ทฤษฏีการผลิตกับการบริหาร
ธุรกิจมีความ “จำกัด” ในเรื่องปัจจัยการผลิต (คงที่ และผันแปร)
ธุรกิจมีช่วงเวลา สถานการณ์ (ทันต่อการจำหน่าย)
ธุรกิจต้องมีมาตรฐาน
ทุกอย่างต้องใช้ “เงิน” ในการบริหารจัดการ
ดาวน์โหลด
ไฟล์ประโยชน์ของแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
- “การเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด
- “ความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากรนั้น”
- “คิดมากกว่าตัวเงินที่เป็นตัวเงิน สิ่งแวดล้อม”
- “การกระจายความเป็นธรรม สู่สังคม การมีงานทำ”
ดาวน์โหลด
ไฟล์อุปสงค์ และการเปลี่ยนแปลง 1
- อุปสงค์ หมายถึง ปริมาณเสนอซื้อ (quantity demanded) สินค้าและบริการหรือปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้บริโภควางแผนที่จะซื้อในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาหนึ่ง
ดาวน์โหลด
ไฟล์อุปสงค์ และการเปลี่ยนแปลง 2
อุปสงค์สำหรับสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง
หมายถึง ปริมาณของสินค้าหรือบริการชนิดนั้น
ที่ผู้บริโภคประสงค์จะซื้อในช่วงเวลาหนึ่งๆ
ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้าหรือบริการชนิดนั้น
ดาวน์โหลด
ไฟล์พฤติกรรมผู้บริโภค 1
ผู้บริโภคจะเลือกบริโภคที่จะทำให้ได้รับความพึงพอใจสูงสุด ภายในงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด
ดาวน์โหลด
ไฟล์พฤติกรรมผู้บริโภค 2
พฤติกรรมผู้บริโภค หมายถึง พฤติกรรมของผู้บริโภคในการ ค้นหา ซื้อ ใช้ ประเมิน และจัดการกับสิ่งเหลือใช้ สินค้าและบริการ ซึ่งผู้บริโภคคาดว่าจะสามารถสนองความต้องของเขาได้
ดาวน์โหลด
ไฟล์การใช้อุปสงค์เพื่อการตลาด
อุปสงค์ คือ ความต้องการซื้อ ณ ช่วงเวลาหนึ่ง
อุปสงค์สามารถเปลี่ยนแปลงได้
การเปลี่ยนแปลงมี ๒ ลักษณะ (บนเส้นเดิม เปลี่ยนไปทั้งเส้น)
ประเภทของอุปสงค์ (ราคา, สินค้าทดแทน, สินค้าใช้ประกอบกัน, ฤดูกาล)
ส่วนประกอบของอุปสงค์ (ต้องการสินค้า , จ่ายได้ , ตัดสินใจซื้อได้)
ดาวน์โหลด
ไฟล์ตลาดแข่งขันสมบูรณ์และตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
- ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (ราคาคงที่)
- ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (ราคาไม่คงที่)
ตลาดผูกขาด
ตลาดผู้ขายน้อยราย
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด