รายละเอียดบทเรียน
เนื้อหา
ความหมายและประเภทของธุรกิจอาหาร
´ความหมายของธุรกิจอุตสาหกรรมอาหาร
การเพิ่ม “กำลังการผลิตอาหาร” โดยมีวัตถุประสงค์
1.เลี้ยงประชากรในประเทศ
2.ส่งออก เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับประเทศ
3.พัฒนาเทคโนโลยี
4.ทดแทนทรัพยากรที่กำลังจะหมดไป
5.ยกระดับคุณภาพชีวิต
ดาวน์โหลด
ไฟล์ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมธุรกิจอาหาร
´ความสัมพันธ์ระหว่าง “อุปสงค์มวลรวม” กับ “อุปทานมวลรวม” ก่อให้เกิด “ดุลยภาพ” ในตลาดอุตสาหกรรมอาหาร
´การเพิ่มขึ้นของประชากร
´การเปลี่ยนแปลงการย้ายถิ่นฐานเข้ามาประกอบอาชีพในตัวเมือง
´การรวมกลุ่มทางเศรฐกิจ (การตลาดค้าเสรี)
´การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต
ดาวน์โหลด
ไฟล์แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับธุรกิจอาหาร
ดาวน์โหลด
ไฟล์แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับธุรกิจอาหาร
พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer behavior ) หมายถึง กระบวนการที่บุคคล
หรือครัวเรือนทำการค้นหา, การซื้อ, การใช้ และ การประเมินผลผลิตภัณฑ์ & การ
บริการ เพื่อตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจของเขา
ดาวน์โหลด
ไฟล์เศรษฐศาสตร์กับพฤติกรรมผู้บริโภค 1
อุปสงค์สำหรับสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง หมายถึง ปริมาณของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นที่ผู้บริโภคประสงค์จะซื้อในช่วงเวลาหนึ่งๆ ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้าหรือบริการชนิดนั้น
ดาวน์โหลด
ไฟล์เศรษฐศาสตร์กับพฤติกรรมผู้บริโภค 2
กลุ่มของลูกค้าที่มีพฤติกรรมคล้าย ๆ กัน เช่น ลูกค้าที่นิยมซื้อสิสนค้า และบริการปริมาณมากเมื่อห้างสรรพสินค้าจัด EVENT จัดลดราคาสินค้า ผู้ประกอบการต้องรู้ว่า
- ใครคือลูกค้า
- ตลาดอยู่ตรงไหน
- กลุ่มลูกค้ามีพฤติกรรมการซื้อ วัตถุประสงค์การซื้ออย่างไร
ดาวน์โหลด
ไฟล์เศรษฐศาสตร์กับพฤติกรรมผู้บริโภค 3
ความหมายของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา และวิธีการค านวณ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์คือการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าและ
บริการของผู้บริโภค
ดาวน์โหลด
ไฟล์เศรษฐศาสตร์การผลิตธุรกิจอาหาร 1
อุปทาน (Supply) คือ ความต้องการขาย โดยต้องมี ความเต็ม
ใจที่จะเสนอขายหรือให้บริการ และความสามารถในการเสนอขายหรือ
ให้บริการ เป็นเรื่องของผู้ผลิต
ดาวน์โหลด
ไฟล์เศรษฐศาสตร์การผลิตธุรกิจอาหาร 2
การดำเนินธุรกิจอาหารนั้น “ผู้ประกอบการ ต้องสามารถคาดคะเน
การผลิตในตลาด”ได้อย่างถูกต้อง หรือใกล้เคียงมากที่สุด
ดาวน์โหลด
ไฟล์เศรษฐศาสตร์การผลิตธุรกิจอาหาร 3
มีแนวคิดที่คล้ายกับ “อุปสงค์” แต่วิเคราะห์ในฐานะ “ผู้ขาย”
แสดงการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการเสนอขายในตลาด
วัดความไหวของปริมาณการเสนอขาย (ปริมาณสินค้า) ในตลาด
แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง “ราคาเสนอขาย” และ “ปริมาณเสนอขาย”
แสดงผลเหมือนกันกับความยืดหยุ่นของ “อุปสงค์”
ดาวน์โหลด
ไฟล์ต้นทุน-รายรับ-กำไรในธุรกิจอาหาร-ตอนที่-1
หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ผู้ผลิตจ่ายออกไปเพื่อให้ได้มาซึ่งจำนวนสินค้า
หรือบริการที่ต้องการ หรือค่าใช้จ่ายที่ทำให้มูลค่าของสินค้าหรือ
บริการเพิ่มขึ้น
ดาวน์โหลด
ไฟล์ต้นทุน-รายรับ-กำไรในธุรกิจอาหาร-ตอนที่-2
การผลิต คือ กระบวนการในการแปรรูปปัจจัยการผลิตต่างๆ ( ที่ดิน แรงงาน
ทุน และผู้ประกอบการ ) ให้เป็นผลผลิต (สินค้าและบริการ)
การผลิตสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งอาจทำได้หลายแบบ แต่ละวิธีก็คือ
ความแตกต่างกันของปัจจัยการผลิตที่นำมาใช้
สามารถแสดงการผลิตที่ให้ผลผลิตในหลายๆแบบได้โดยฟังก์ชันการผลิต
ดาวน์โหลด
ไฟล์ต้นทุน-รายรับ-กำไรในธุรกิจอาหาร-ตอนที่-3
ต้นทุนเกี่ยวกับการผลิตอาหาร เช่น ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง
ค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องจักร และเครื่องมือสาธารณูปโภค และ
ค่าแรงงาน
ดาวน์โหลด
ไฟล์การพยากรณ์-การตัดสินใจทางธุรกิจอาหาร-ตอน 1
การพยากรณ์ยอดขาย (Sales Forecast) คือ การคาดการณ์หรือประมาณ
การจำนวน หรือ มูลค่าของสินค้าและบริการที่บริษัทจะขายได้ โดยมีหลักการ
คาดการณ์หรือคาดคะเน เช่น คำนวณจากผลการสำรวจตลาด จำนวน
ประชากรที่เป็นเป้าหมายของสินค้าและบริการของบริษัท ความคิดเห็นของ
บุคคลต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกบริษัท
ดาวน์โหลด
ไฟล์การตัดสินใจทางเศรษฐศาสตร์เพื่อประกอบธุรกิจ
“ความจำกัดของทรัพยากร” ที่ไม่สอดคล้องกับ “ความต้องการ”
ปัญหาพื้นฐาน
1. ผลิตอะไร
2. ผลิตอย่างไร
3. ผลิตเพื่อใคร